พบบ่อยในผู้หญิงไทยและผู้หญิงทั่วโลก เป็นอันดับที่ 1 - 2 ของโรคมะเร็งในผู้หญิงทั้งหมด
โดยคิดเป็นประมาณ 16% และพบได้สูงขึ้นตั้งแต่อายุ 50 ปีขึ้นไป ( 5% พบในอายุต่ำกว่า 40 ปี)
โดยคิดเป็นประมาณ 16% และพบได้สูงขึ้นตั้งแต่อายุ 50 ปีขึ้นไป ( 5% พบในอายุต่ำกว่า 40 ปี)
โรคมะเร็งเต้านม (Breast cancer)
ผู้หญิงในวัย 35 ขึ้นไป.. คุณ!!..เคยสังเกตร่างกายด้วยตัวเองอย่างนี้บ้างหรือไม่?
· มีก้อนที่เต้านม ร้อยละ 15-20 ของก้อนที่คลำได้ บริเวณเต้านมเป็นมะเร็งเต้านม
· มีการเปลี่ยนแปลงขนาด และรูปร่างของเต้านม
· ผิวหนังเปลี่ยนแปลง เช่น รอยบุ๋ม ย่น หดตัว หนาผิดปกติ บางส่วนมีสะเก็ด
· หัวนมมีการหดตัว คัน หรือแดงผิดปกติ
· มีเลือดหรือน้ำออกจากหัวนม ร้อยละ 20 ของการมีเลือดออกจะเป็นมะเร็ง
· เจ็บเต้านม มะเร็งเต้านมส่วนใหญ่ไม่เจ็บ นอกจากก้อนโตมากแล้ว
· การบวมของรักแร้ เพราะต่อมน้ำเหลืองโต
· ผิวเต้านมจะเหมือนเปลือกส้ม
· มีก้อนที่เต้านม ร้อยละ 15-20 ของก้อนที่คลำได้ บริเวณเต้านมเป็นมะเร็งเต้านม
· มีการเปลี่ยนแปลงขนาด และรูปร่างของเต้านม
· ผิวหนังเปลี่ยนแปลง เช่น รอยบุ๋ม ย่น หดตัว หนาผิดปกติ บางส่วนมีสะเก็ด
· หัวนมมีการหดตัว คัน หรือแดงผิดปกติ
· มีเลือดหรือน้ำออกจากหัวนม ร้อยละ 20 ของการมีเลือดออกจะเป็นมะเร็ง
· เจ็บเต้านม มะเร็งเต้านมส่วนใหญ่ไม่เจ็บ นอกจากก้อนโตมากแล้ว
· การบวมของรักแร้ เพราะต่อมน้ำเหลืองโต
· ผิวเต้านมจะเหมือนเปลือกส้ม
ระยะของมะเร็งเต้านม
ระยะ 0: เป็นระยะเริ่มต้นของเซลล์มะเร็ง ยังไม่ลุกลามไปยังเนื้อเยื่อเต้านม อยู่เฉพาะในชั้นผิวของเนื้อเยื่อเต้านม ระยะนี้มีอัตรารอดที่ 5 ปีประมาณ 95 - 100%
ระยะที่ 1: ก้อนมะเร็งมีขนาดไม่เกิน 2 ซม. ยังไม่ลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลือง ระยะนี้มีอัตรารอดที่ 5 ปี ประมาณ 90 - 100%
ระยะที่ 2: ก้อนมะเร็งมีขนาดระหว่าง 2-5 ซม. อาจจะลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้หรือไม่ก็ได้ แต่ยังไม่แพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น ระยะนี้มีอัตรารอด ประมาณ 85 - 90%
ระยะที่ 3: ก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่กว่า 5 ซม. และรุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้แล้ว แต่ยังไม่แพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น อาจแตกหรือเป็นแผล จับโยกไม่ได้เพราะก้อนเนื้อยึดติดกับกล้ามเนื้อหน้าอก หรือลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้แล้ว ระยะนี้มักมีอัตรารอด ประมาณ 65 - 70%
ระยะที่ 4: ก้อนมะเร็งแพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น เช่น ปอด กระดูก ตับ สมอง และไขกระดูก ระยะนี้มักไม่หายขาด ทั่วไปผู้ป่วยมักมีชีวิตอยู่ได้ประ มาณ 1 - 3 ปี อัตรารอดที่ 5 ปีประมาณ 0 - 20%
ระยะ 0: เป็นระยะเริ่มต้นของเซลล์มะเร็ง ยังไม่ลุกลามไปยังเนื้อเยื่อเต้านม อยู่เฉพาะในชั้นผิวของเนื้อเยื่อเต้านม ระยะนี้มีอัตรารอดที่ 5 ปีประมาณ 95 - 100%
ระยะที่ 1: ก้อนมะเร็งมีขนาดไม่เกิน 2 ซม. ยังไม่ลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลือง ระยะนี้มีอัตรารอดที่ 5 ปี ประมาณ 90 - 100%
ระยะที่ 2: ก้อนมะเร็งมีขนาดระหว่าง 2-5 ซม. อาจจะลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้หรือไม่ก็ได้ แต่ยังไม่แพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น ระยะนี้มีอัตรารอด ประมาณ 85 - 90%
ระยะที่ 3: ก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่กว่า 5 ซม. และรุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้แล้ว แต่ยังไม่แพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น อาจแตกหรือเป็นแผล จับโยกไม่ได้เพราะก้อนเนื้อยึดติดกับกล้ามเนื้อหน้าอก หรือลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้แล้ว ระยะนี้มักมีอัตรารอด ประมาณ 65 - 70%
ระยะที่ 4: ก้อนมะเร็งแพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น เช่น ปอด กระดูก ตับ สมอง และไขกระดูก ระยะนี้มักไม่หายขาด ทั่วไปผู้ป่วยมักมีชีวิตอยู่ได้ประ มาณ 1 - 3 ปี อัตรารอดที่ 5 ปีประมาณ 0 - 20%

อาการสำคัญของโรคมะเร็งเต้านม
-
ก้อนเนื้อในเต้านม มักเกิดเพียงข้างเดียว (เกิดสองข้างมีประมาณ 5%)
อาจพบจากมีแผลเรื้อรังที่หัวนม หรือมีน้ำนมผิดปกติเป็นน้ำเลือด
- ผู้หญิงอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม
- มะเร็งระยะเริ่มต้นนั้นมักจะไม่มีอาการเจ็บ
- มะเร็งเต้านม (Breast cancer) พบบ่อยในผู้หญิงไทย พบร้อยละ 37 ของมะเร็งทั้งหมด
- ร้อยละ 80 เนื้องอกที่เต้านมผู้หญิงนั้นถูกตรวจพบครั้งแรกด้วยตนเอง
- การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ควรทำทุกเดือนตั้งแต่วัยสาวถึงวัยสูงอายุ เวลาที่ดีที่สุดที่จะทำการตรวจ คือ หลังหมดระดูแล้ว 3-10 วัน

โรคมะเร็งเต้านมรักษาหายไหม?
โรคมะเร็งเต้านม มีโอกาสรักษาหายค่อนข้างสูง เมื่อเป็นในระยะต้นๆ ดังนั้นโอกาสรักษาหายขึ้น กับระยะของโรค การตอบสนองต่อการใช้ยา อายุ และสุขภาพของผู้ป่วย เมื่อคลำพบก้อนในเต้านมหรือพบความผิดปกติของเต้านม ควรรีบพบแพทย์/ภายใน 1 - 2 สัปดาห์ ในผู้หญิงปกติที่อายุ 50 ปีหรือที่อายุ 30 - 40 ปีเมื่อมีประวัติคนในครอบครัวสายตรงเป็นโรคมะเร็งเต้านม ควรพบแพทย์เพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมปีละครั้ง และตรวจเต้านมด้วยตัวเองทุกวัน
โรคมะเร็งเต้านม มีโอกาสรักษาหายค่อนข้างสูง เมื่อเป็นในระยะต้นๆ ดังนั้นโอกาสรักษาหายขึ้น กับระยะของโรค การตอบสนองต่อการใช้ยา อายุ และสุขภาพของผู้ป่วย เมื่อคลำพบก้อนในเต้านมหรือพบความผิดปกติของเต้านม ควรรีบพบแพทย์/ภายใน 1 - 2 สัปดาห์ ในผู้หญิงปกติที่อายุ 50 ปีหรือที่อายุ 30 - 40 ปีเมื่อมีประวัติคนในครอบครัวสายตรงเป็นโรคมะเร็งเต้านม ควรพบแพทย์เพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมปีละครั้ง และตรวจเต้านมด้วยตัวเองทุกวัน
6 วิธีลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งเต้านม
ผลการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญว่า ผู้หญิงเราสามารถที่จะลดความเสี่ยงในการเป็นโรคนี้ได้ ด้วยอาหารบางชนิดและการออกกำลังกาย
1. ยืดเส้นยืดสาย : แค่ออกกำลังชนิดที่ไม่เหนื่อยนัก เพียง 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ อย่างการจ๊อกกิ่ง ว่ายน้ำ เล่นเทนนิส จะช่วยลดความเสี่ยง ในการเป็นมะเร็งเต้านมลงได้มากถึง 60%
2. เลิกเมาค้าง : มีงานศึกษาล่าสุดพบว่า เครื่องดื่มแอลกฮอล์ 2-5 แก้ว ต่อวัน เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านมได้มากถึง 40%
3. เปลี่ยนจากสเต๊กเนื้อมาเป็นทูน่าสเต๊ก : มีงานวิจัยพบว่าเนื้อแดงของสัตว์ เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านม ควรทานทูน่าสเต๊ก หรือปลาแซลมอน ซึ่งมีกรดไขมันโอเมก้า 3 พระเอกในการป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมได้
4. สัมผัสแสงแดด : แม้ว่าการตากแดดจ้าๆ เป็นเวลานาน อาจทำให้คุณมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง แต่การตากแดดวันละ 15 นาที ในช่วงเช้าหรือเย็น จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งเต้านมได้
5. จิบน้ำส้มหรือน้ำมะนาว : จะมีอาการเพียงครึ่งเดียว การดื่มน้ำส้มหรือน้ำมะนาวเป็นประจำทุกวัน เราอาจไม่รู้ปริมาณ แต่เป็นการดีต่อสุขภาพ
6.อย่าลืมถั่วเหลือง : ผู้หญิงที่กินถั่วเหลืองเป็นประจำ จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งเต้านมและมดลูกได้
ผลการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญว่า ผู้หญิงเราสามารถที่จะลดความเสี่ยงในการเป็นโรคนี้ได้ ด้วยอาหารบางชนิดและการออกกำลังกาย
1. ยืดเส้นยืดสาย : แค่ออกกำลังชนิดที่ไม่เหนื่อยนัก เพียง 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ อย่างการจ๊อกกิ่ง ว่ายน้ำ เล่นเทนนิส จะช่วยลดความเสี่ยง ในการเป็นมะเร็งเต้านมลงได้มากถึง 60%
2. เลิกเมาค้าง : มีงานศึกษาล่าสุดพบว่า เครื่องดื่มแอลกฮอล์ 2-5 แก้ว ต่อวัน เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านมได้มากถึง 40%
3. เปลี่ยนจากสเต๊กเนื้อมาเป็นทูน่าสเต๊ก : มีงานวิจัยพบว่าเนื้อแดงของสัตว์ เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านม ควรทานทูน่าสเต๊ก หรือปลาแซลมอน ซึ่งมีกรดไขมันโอเมก้า 3 พระเอกในการป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมได้
4. สัมผัสแสงแดด : แม้ว่าการตากแดดจ้าๆ เป็นเวลานาน อาจทำให้คุณมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง แต่การตากแดดวันละ 15 นาที ในช่วงเช้าหรือเย็น จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งเต้านมได้
5. จิบน้ำส้มหรือน้ำมะนาว : จะมีอาการเพียงครึ่งเดียว การดื่มน้ำส้มหรือน้ำมะนาวเป็นประจำทุกวัน เราอาจไม่รู้ปริมาณ แต่เป็นการดีต่อสุขภาพ
6.อย่าลืมถั่วเหลือง : ผู้หญิงที่กินถั่วเหลืองเป็นประจำ จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งเต้านมและมดลูกได้
สนับสนุนโดย...แอนซิม่า (Anzima) เอนไซม์จากจุลินทรีย์โปรไบโอติค
"กุญแจไขความลับสู่สุขภาพที่ดี"
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแอนซิม่า เหมือนกันกับการเติมน้ำให้ชีวิตที่เต็มไปด้วยหลุมบ่อให้เรียบเสมอกัน ช่วยในการชะลอวัย ทำให้ดูเป็นหนุ่มเป็นสาวกว่าอายุที่แท้จริง ช่วยทำให้เซลล์ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4 ประการ คือ
· กระบวนการย่อยสมบูรณ์ทั้งระบบ ทำให้เซลล์ได้รับอาหาร และออกซิเจนเต็มที่
· ย่อยสลายสารพิษที่ตกค้าง ในเลือด และในอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะที่ ตับ และไต
· ต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อรา พร้อมเพิ่มคุณภาพภูมิต้านทานต้านเชื้อไวรัส
· ต่อต้านอนุมูลอิสระที่จะมาทำร้ายเซลล์
สนใจติดต่อ..
Call center : โทร. 088-536-2211 088-536-3322 088-536-4433 02-444-6544
ID line : Enzyme.co.th
Follow LINE Official ID @jqk0152o : https://bit.ly/2KuayDT
Follow Fanpage Biowist.co.th : https://bit.ly/2w61GRN
Follow Instagram enzymebiowist : https://bit.ly/2Ig6qcm
"กุญแจไขความลับสู่สุขภาพที่ดี"
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแอนซิม่า เหมือนกันกับการเติมน้ำให้ชีวิตที่เต็มไปด้วยหลุมบ่อให้เรียบเสมอกัน ช่วยในการชะลอวัย ทำให้ดูเป็นหนุ่มเป็นสาวกว่าอายุที่แท้จริง ช่วยทำให้เซลล์ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4 ประการ คือ
· กระบวนการย่อยสมบูรณ์ทั้งระบบ ทำให้เซลล์ได้รับอาหาร และออกซิเจนเต็มที่
· ย่อยสลายสารพิษที่ตกค้าง ในเลือด และในอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะที่ ตับ และไต
· ต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อรา พร้อมเพิ่มคุณภาพภูมิต้านทานต้านเชื้อไวรัส
· ต่อต้านอนุมูลอิสระที่จะมาทำร้ายเซลล์
สนใจติดต่อ..
Call center : โทร. 088-536-2211 088-536-3322 088-536-4433 02-444-6544
ID line : Enzyme.co.th
Follow LINE Official ID @jqk0152o : https://bit.ly/2KuayDT
Follow Fanpage Biowist.co.th : https://bit.ly/2w61GRN
Follow Instagram enzymebiowist : https://bit.ly/2Ig6qcm
สอบถาม/สั่งซื้อ
|