คุณเคยมีอาการเหล่านี้หรือไม่?
เจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น ขาบวม เป็นลม วูบ
เกิดขึ้นขณะออกกำลัง เช่น เดินเร็วๆ รีบ หรือ ขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห อาการดังกล่าวจะดีขึ้น เมื่อหยุดเจ็บหน้าอก : เจ็บ แน่นๆ อึดอัด บริเวณกลางหน้าอก อาจจะเป็นด้านซ้าย หรือ ทั้งสองด้าน (มักจะไม่เป็นด้านขวาด้านเดียว) บางรายจะร้าวไป ที่แขนซ้าย หรือ ทั้งสองข้าง หรือ จุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน
หอบ เหนื่อยง่าย: โดยเป็นเวลาออกแรง ถ้ารุนแรง จะเหนื่อยในขณะพัก บางครั้งนอนราบไม่ได้ ต้องนอนศีรษะสูงหรือ นั่งหลับ
ใจสั่น : หมายถึง การที่หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ผิดจังหวะ หรือ เต้นไม่สม่ำเสมอ เต้นๆ หยุดๆ
ขาบวม : เกิดจากการที่ร่างกายมีเกลือ (โซเดียม) และน้ำคั่งอยู่ในร่างกาย โดยอาจเกิดจากโรคไต (ขับเกลือไม่ได้) โรคหลอดเลือดดำอุดตัน (การไหลเวียนไม่สะดวก) ขาดอาหาร โปรตีนในเลือดต่ำ
เป็นลม "วูบ" : หมายถึง การหมดสติ หรือ เกือบหมดสติ ชั่วขณะ
เจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น ขาบวม เป็นลม วูบ
เกิดขึ้นขณะออกกำลัง เช่น เดินเร็วๆ รีบ หรือ ขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห อาการดังกล่าวจะดีขึ้น เมื่อหยุดเจ็บหน้าอก : เจ็บ แน่นๆ อึดอัด บริเวณกลางหน้าอก อาจจะเป็นด้านซ้าย หรือ ทั้งสองด้าน (มักจะไม่เป็นด้านขวาด้านเดียว) บางรายจะร้าวไป ที่แขนซ้าย หรือ ทั้งสองข้าง หรือ จุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน
หอบ เหนื่อยง่าย: โดยเป็นเวลาออกแรง ถ้ารุนแรง จะเหนื่อยในขณะพัก บางครั้งนอนราบไม่ได้ ต้องนอนศีรษะสูงหรือ นั่งหลับ
ใจสั่น : หมายถึง การที่หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ผิดจังหวะ หรือ เต้นไม่สม่ำเสมอ เต้นๆ หยุดๆ
ขาบวม : เกิดจากการที่ร่างกายมีเกลือ (โซเดียม) และน้ำคั่งอยู่ในร่างกาย โดยอาจเกิดจากโรคไต (ขับเกลือไม่ได้) โรคหลอดเลือดดำอุดตัน (การไหลเวียนไม่สะดวก) ขาดอาหาร โปรตีนในเลือดต่ำ
เป็นลม "วูบ" : หมายถึง การหมดสติ หรือ เกือบหมดสติ ชั่วขณะ

โรคหัวใจ
“หัวใจ” เป็นอวัยวะที่มีความสำคัญต่อร่างกายเป็นอย่างยิ่ง เป็นอวัยวะหนึ่งที่ทำงานหนักที่สุดตลอดชีวิต
ทำหน้าที่ปั๊มเลือดซึ่งมีสารอาหาร และ ออกซิเจนไปเลี้ยงสมองและ อวัยวะสำคัญทั่วร่างกาย
หัวใจจะเต้นประมาณ 100,000 ครั้ง และสูบฉีดเลือดประมาณวันละ 2,000 แกลลอน
จำเป็นต้องอาศัยกล้ามเนื้อ และหลอดเลือดหัวใจที่แข็งแรง ถ้ามีความผิดปกติเกิดกับส่วนต่างๆ อาทิเช่น เส้นเลือดหัวใจ ลิ้นหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจ หัวใจวาย หัวใจขาดเลือด หัวใจรั่ว หัวใจตีบ หัวใจโต หัวใจตาย เราควรดูแลและป้องกันอย่างไร?
“หัวใจ” เป็นอวัยวะที่มีความสำคัญต่อร่างกายเป็นอย่างยิ่ง เป็นอวัยวะหนึ่งที่ทำงานหนักที่สุดตลอดชีวิต
ทำหน้าที่ปั๊มเลือดซึ่งมีสารอาหาร และ ออกซิเจนไปเลี้ยงสมองและ อวัยวะสำคัญทั่วร่างกาย
หัวใจจะเต้นประมาณ 100,000 ครั้ง และสูบฉีดเลือดประมาณวันละ 2,000 แกลลอน
จำเป็นต้องอาศัยกล้ามเนื้อ และหลอดเลือดหัวใจที่แข็งแรง ถ้ามีความผิดปกติเกิดกับส่วนต่างๆ อาทิเช่น เส้นเลือดหัวใจ ลิ้นหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจ หัวใจวาย หัวใจขาดเลือด หัวใจรั่ว หัวใจตีบ หัวใจโต หัวใจตาย เราควรดูแลและป้องกันอย่างไร?

โรคหัวใจโต (cardiac hypertrophy)
ภาวะหัวใจโตไม่ถือเป็นโรค แต่เป็นภาวะหนึ่งของโรคหัวใจ มักเกิดกับห้องล่างซ้ายหรือล่างขวา การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจสามารถบอกได้ว่าผนังหัวใจห้องล่างซ้ายและขวาหนากว่าปกติหรือไม่?
หัวใจห้องล่างซ้ายโต : เพราะบีบตัวน้อยลง เลือดจะคั่งอยู่ในปอด ทำให้เหนื่อยง่าย เพราะปอดแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง เวลากลางคืนอาจต้องนอนยกหัวให้สูง
ถ้ามีหัวใจห้องล่างขวาโต : ทำให้เลือดคั่งอยู่ในตับและที่เท้า ทำให้แน่นจุกบริเวณลิ้นปี่เพราะตับโต และเท้าบวม
อาการ
-เช่น เหนื่อยง่าย หอบ แน่นหน้าอก
-หายใจเร็ว
-หายใจลำบาก เหนื่อยง่ายกว่า
สาเหตุสำคัญ
1.ความดันโลหิตสูง เนื่องจากหัวใจทำงานหนักจึงทำให้หัวใจโต...จากอ้วน โรคเบาหวาน โรคอื่นๆ
2.โรคลิ้นหัวใจ ไม่ว่าจะลิ้นหัวใจตีบหรือลิ้นหัวใจรั่ว หรือมีการอักเสบติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ โรคต่างๆเหล่านี้จะทำให้หัวใจโต
3.โรคของกล้ามเนื้อหัวใจเอง ที่เรียกว่า cardiomyopathy อาจจะเกิดความเสื่อมเนื่องจากโรคพยาธิหนอนหัวใจ หรืออื่นๆ
4.โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด เช่นผนังหัวใจรั่วเป็นต้น
5.โรคหัวใจเต้นผิดปกติก็จะทำให้หัวใจโต
6.โรคความดันในปอดสูง
7.โลหิตจางหรือซีดเป็นเวลานาน
8.โรคของต่อมธัยรอยด์ไม่ว่าต่อมจะทำงานมากไปหรือน้อยไปก็ทำให้เกิดหัวใจโต
9.ธาตุเหล็กมากไปจะมีการสะสมฐาตุเหล็กเกิดโรค hemochromatosis
10.มีความผิดปกติเกี่ยวกับโปรตีนทำให้มีการสะสมโปรตีนในกล้ามเนื้อหัวใจที่เรียกว่า Amyloidosis
ไม่ว่าจะเป็นโรคหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ มาถึงจุดหนึ่ง เมื่อปล่อยให้โรคดำเนินไปมากๆ ขึ้นแล้ว จะเกิดภาวะหัวใจโตขึ้น เพราะฉะนั้นถ้าปล่อยให้หัวใจโตแล้ว จะเป็นสัญญาณเตือนว่า วันข้างหน้าโรคหัวใจนี้ จะพัฒนาขึ้นสู่โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหัวใจล้มเหลว เข้าสู่โรคหัวใจระยะสุดท้าย และมีโอกาสเสียชีวิต สรุปก็คือ ไม่ว่าโรคหัวใจจะอยู่เฉยอย่างไรก็ตาม ถ้ารักษาไม่ดีก็นำมาซึ่งภาวะหัวใจโต แล้วก็ทำให้หัวใจล้มเหลวได้ในที่สุด
ภาวะหัวใจโตไม่ถือเป็นโรค แต่เป็นภาวะหนึ่งของโรคหัวใจ มักเกิดกับห้องล่างซ้ายหรือล่างขวา การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจสามารถบอกได้ว่าผนังหัวใจห้องล่างซ้ายและขวาหนากว่าปกติหรือไม่?
หัวใจห้องล่างซ้ายโต : เพราะบีบตัวน้อยลง เลือดจะคั่งอยู่ในปอด ทำให้เหนื่อยง่าย เพราะปอดแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง เวลากลางคืนอาจต้องนอนยกหัวให้สูง
ถ้ามีหัวใจห้องล่างขวาโต : ทำให้เลือดคั่งอยู่ในตับและที่เท้า ทำให้แน่นจุกบริเวณลิ้นปี่เพราะตับโต และเท้าบวม
อาการ
-เช่น เหนื่อยง่าย หอบ แน่นหน้าอก
-หายใจเร็ว
-หายใจลำบาก เหนื่อยง่ายกว่า
สาเหตุสำคัญ
1.ความดันโลหิตสูง เนื่องจากหัวใจทำงานหนักจึงทำให้หัวใจโต...จากอ้วน โรคเบาหวาน โรคอื่นๆ
2.โรคลิ้นหัวใจ ไม่ว่าจะลิ้นหัวใจตีบหรือลิ้นหัวใจรั่ว หรือมีการอักเสบติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ โรคต่างๆเหล่านี้จะทำให้หัวใจโต
3.โรคของกล้ามเนื้อหัวใจเอง ที่เรียกว่า cardiomyopathy อาจจะเกิดความเสื่อมเนื่องจากโรคพยาธิหนอนหัวใจ หรืออื่นๆ
4.โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด เช่นผนังหัวใจรั่วเป็นต้น
5.โรคหัวใจเต้นผิดปกติก็จะทำให้หัวใจโต
6.โรคความดันในปอดสูง
7.โลหิตจางหรือซีดเป็นเวลานาน
8.โรคของต่อมธัยรอยด์ไม่ว่าต่อมจะทำงานมากไปหรือน้อยไปก็ทำให้เกิดหัวใจโต
9.ธาตุเหล็กมากไปจะมีการสะสมฐาตุเหล็กเกิดโรค hemochromatosis
10.มีความผิดปกติเกี่ยวกับโปรตีนทำให้มีการสะสมโปรตีนในกล้ามเนื้อหัวใจที่เรียกว่า Amyloidosis
ไม่ว่าจะเป็นโรคหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ มาถึงจุดหนึ่ง เมื่อปล่อยให้โรคดำเนินไปมากๆ ขึ้นแล้ว จะเกิดภาวะหัวใจโตขึ้น เพราะฉะนั้นถ้าปล่อยให้หัวใจโตแล้ว จะเป็นสัญญาณเตือนว่า วันข้างหน้าโรคหัวใจนี้ จะพัฒนาขึ้นสู่โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหัวใจล้มเหลว เข้าสู่โรคหัวใจระยะสุดท้าย และมีโอกาสเสียชีวิต สรุปก็คือ ไม่ว่าโรคหัวใจจะอยู่เฉยอย่างไรก็ตาม ถ้ารักษาไม่ดีก็นำมาซึ่งภาวะหัวใจโต แล้วก็ทำให้หัวใจล้มเหลวได้ในที่สุด

การบำบัดโรคหัวใจโต
การป้องกันและการรักษาโรคหัวใจด้วยเอนไซม์จากเห็ดทางการแพทย์และสมุนไพร...เพื่อลดความเสียหายที่เยื่อบุด้านในของหลอดเลือด และอุปสรรคการขนส่งออกซิเจนตลอดจนสารอาหารที่หัวใจ ให้สารอาหารที่จำเป็นของเซลล์ต่างๆในร่างกายทั้งอะมิโนโปรตีน และไฟโตรนิวเตรียน สามารถช่วยให้ร่ายกายทำหน้าที่ได้ดีขึ้น ดังนี้
-กระตุ้นการไหลเวียนเลือด
-ทำให้หลอดเลือดเหนียวและแข็งแรงไม่เปราะหรือแตกง่าย
-ช่วยลดความดัน เนื่องจากสามารถลดโคเลสเตอรอลในเส้นเลือดได้ขับปัสสาวะเล็กน้อย
-ควบคุมเกลือแร่ หรืออิเล็คโตรไลท์ให้เป็นปกติ สามารถควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจได้ดี
-มีคลอโรฟิลล์สูง ช่วยลดการอักเสบที่กล้ามเนื้อหัวใจได้ดี
-แก้ไขความผิดปกติของโปรตีนที่กล้ามเนื้อหัวใจ หรือAmyloidosis
-รักษาหัวใจเต้นผิดปกติหรือผิดจังหวะ (ventricular arrhythmias)
-ทำให้หลอดเลือดสะอาด เนื่องจากมัส่วนผสมของชะมดเช็ดและเชียง ลดการเกาะตัวของไขมันในเส้นเลือด(อุดตัน)
-ช่วยทำให้เส้นเลือดขยาย จึงทำให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจได้มากขึ้น สามารถลดการไอเนื่องจากหัวใจขาดเลือดได้
-ช่วยบำรุงหัวใจ ทำให้รู้สึกสบายไม่แน่นหน้าอก(หายใจลำบาก)-ลดภาวะหัวใจตีบ
การป้องกันและการรักษาโรคหัวใจด้วยเอนไซม์จากเห็ดทางการแพทย์และสมุนไพร...เพื่อลดความเสียหายที่เยื่อบุด้านในของหลอดเลือด และอุปสรรคการขนส่งออกซิเจนตลอดจนสารอาหารที่หัวใจ ให้สารอาหารที่จำเป็นของเซลล์ต่างๆในร่างกายทั้งอะมิโนโปรตีน และไฟโตรนิวเตรียน สามารถช่วยให้ร่ายกายทำหน้าที่ได้ดีขึ้น ดังนี้
-กระตุ้นการไหลเวียนเลือด
-ทำให้หลอดเลือดเหนียวและแข็งแรงไม่เปราะหรือแตกง่าย
-ช่วยลดความดัน เนื่องจากสามารถลดโคเลสเตอรอลในเส้นเลือดได้ขับปัสสาวะเล็กน้อย
-ควบคุมเกลือแร่ หรืออิเล็คโตรไลท์ให้เป็นปกติ สามารถควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจได้ดี
-มีคลอโรฟิลล์สูง ช่วยลดการอักเสบที่กล้ามเนื้อหัวใจได้ดี
-แก้ไขความผิดปกติของโปรตีนที่กล้ามเนื้อหัวใจ หรือAmyloidosis
-รักษาหัวใจเต้นผิดปกติหรือผิดจังหวะ (ventricular arrhythmias)
-ทำให้หลอดเลือดสะอาด เนื่องจากมัส่วนผสมของชะมดเช็ดและเชียง ลดการเกาะตัวของไขมันในเส้นเลือด(อุดตัน)
-ช่วยทำให้เส้นเลือดขยาย จึงทำให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจได้มากขึ้น สามารถลดการไอเนื่องจากหัวใจขาดเลือดได้
-ช่วยบำรุงหัวใจ ทำให้รู้สึกสบายไม่แน่นหน้าอก(หายใจลำบาก)-ลดภาวะหัวใจตีบ

โรคหลอดเลือดหัวใจ
เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ที่พบได้บ่อยที่สุด เกิดจากการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดหัวใจตีบและตันในที่สุด
จากการศึกษาพบว่า การสะสมของไขมันนี้ เกิดตั้งแต่ในช่วงวัยรุ่น หลอดเลือดหัวใจขนาดเพียง 3 มิลลิเมตร ที่มีไขมันเข้าไปสะสมอยู่ที่ผนัง ค่อยๆ พอกพูนสะสมปริมาณมากขึ้น ๆ มีลักษณะเป็นปื้นไขมันเล็กๆสีเหลืองซึ่งอาจหายไปได้เอง หรือหายไปได้หลังจากรับการรักษา
แต่ในรายที่มี แอล-ดี-แอลในเลือด สูงการสะสมจะเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นแอ่งในไขมันในผนัง โดยมีพังผืดหุ้มไว้บางๆ ถ้าผังผืด ซึ่งทำหน้าที่ เป็นเปลือกหุ้มไขมันเกิดปริแตกออก ก็จะทำให้ไขมันข้างใต้ออกมาสัมผัสกับเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงจับกันเป็นกลุ่ม เกิดการอุดตันหลอดเลือดเส้นนั้นทันที เป็นผลให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
การสะสม พอกพูนของไขมัน ถูกกำหนดโดยหลายปัจจัย อาทิ พันธุกรรม และปริมาณไขมันที่บริโภค ฯลฯ ถ้าการสะสมของไขมันเป็นน้อยๆ (น้อยกว่า 50% ของเส้นเลือด) ก็อาจยังไม่มีก่อให้เกิดอาการอะไร แต่ถ้าเป็นมาก ซึ่งมักจะเกินกว่า 70% ของเส้นเลือด จนกระทั่งเลือดไหลเวียนไม่เพียงพอ กับความต้องการของกล้ามเนื้อหัวใจ
ผู้ที่มีไขมันในเลือดสูง ถ้าได้รับการลดไขมันลงมา ในระดับที่ปลอดภัย จะสามารถลดการสะสมของไขมัน ที่ผนังหลอดเลือดได้ ทำให้หลอดเลือดตีบน้อยลง หรืออย่างน้อยก็ไม่ตีบมากขึ้นได้ แต่ทั้งนี้ จำเป็นต้องใช้เวลาไม่น้อยกว่า 2-3 ปี นอกจากนั้นแล้ว ยังสามารถลดอัตราตายจากโรคนี้ รวมทั้งอุบัติการณ์ในการเกิด โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันลงราวร้อยละ 40-70
เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ที่พบได้บ่อยที่สุด เกิดจากการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดหัวใจตีบและตันในที่สุด
จากการศึกษาพบว่า การสะสมของไขมันนี้ เกิดตั้งแต่ในช่วงวัยรุ่น หลอดเลือดหัวใจขนาดเพียง 3 มิลลิเมตร ที่มีไขมันเข้าไปสะสมอยู่ที่ผนัง ค่อยๆ พอกพูนสะสมปริมาณมากขึ้น ๆ มีลักษณะเป็นปื้นไขมันเล็กๆสีเหลืองซึ่งอาจหายไปได้เอง หรือหายไปได้หลังจากรับการรักษา
แต่ในรายที่มี แอล-ดี-แอลในเลือด สูงการสะสมจะเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นแอ่งในไขมันในผนัง โดยมีพังผืดหุ้มไว้บางๆ ถ้าผังผืด ซึ่งทำหน้าที่ เป็นเปลือกหุ้มไขมันเกิดปริแตกออก ก็จะทำให้ไขมันข้างใต้ออกมาสัมผัสกับเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงจับกันเป็นกลุ่ม เกิดการอุดตันหลอดเลือดเส้นนั้นทันที เป็นผลให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
การสะสม พอกพูนของไขมัน ถูกกำหนดโดยหลายปัจจัย อาทิ พันธุกรรม และปริมาณไขมันที่บริโภค ฯลฯ ถ้าการสะสมของไขมันเป็นน้อยๆ (น้อยกว่า 50% ของเส้นเลือด) ก็อาจยังไม่มีก่อให้เกิดอาการอะไร แต่ถ้าเป็นมาก ซึ่งมักจะเกินกว่า 70% ของเส้นเลือด จนกระทั่งเลือดไหลเวียนไม่เพียงพอ กับความต้องการของกล้ามเนื้อหัวใจ
ผู้ที่มีไขมันในเลือดสูง ถ้าได้รับการลดไขมันลงมา ในระดับที่ปลอดภัย จะสามารถลดการสะสมของไขมัน ที่ผนังหลอดเลือดได้ ทำให้หลอดเลือดตีบน้อยลง หรืออย่างน้อยก็ไม่ตีบมากขึ้นได้ แต่ทั้งนี้ จำเป็นต้องใช้เวลาไม่น้อยกว่า 2-3 ปี นอกจากนั้นแล้ว ยังสามารถลดอัตราตายจากโรคนี้ รวมทั้งอุบัติการณ์ในการเกิด โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันลงราวร้อยละ 40-70

ใครบ้างที่มีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือด
1.เพศชาย มีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือด มากกว่าเพศหญิง 3-5 เท่า
2.อายุ เพศชายมักจะเริ่มตั้งแต่ อายุ 35 ปีขึ้นไป ในเพศหญิงนวัยหมดประจำเดือน อายุ 50-55 ปี
3.สูบบุหรี่
4.ไขมันในเลือดสูง
5.โรคความดันโลหิตสูง
6.โรคเบาหวาน
7.อ้วนและไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย
8.เครียดง่าย เครียดบ่อย
9.มีประวัติโรคหัวใจขาดเลือดของคนในครอบครัว
1.เพศชาย มีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือด มากกว่าเพศหญิง 3-5 เท่า
2.อายุ เพศชายมักจะเริ่มตั้งแต่ อายุ 35 ปีขึ้นไป ในเพศหญิงนวัยหมดประจำเดือน อายุ 50-55 ปี
3.สูบบุหรี่
4.ไขมันในเลือดสูง
5.โรคความดันโลหิตสูง
6.โรคเบาหวาน
7.อ้วนและไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย
8.เครียดง่าย เครียดบ่อย
9.มีประวัติโรคหัวใจขาดเลือดของคนในครอบครัว

ภาวะหลอดเลือดแดงแข็งตัวผิดปกติ
ภาวะนี้เป็นความเสื่อมของหลอดเลือดที่เกิดขึ้นทั่วร่างกาย เกิดจากการสะสมของไขมันและแคลเซียมในผนังของหลอดเลือดแดง ทำให้หลอดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่น เกิดการตีบตัน ผลที่ตามมาคือ เช่น หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ ตัน เกิดอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื้อหัวใจตาย หรือหลอดเลือดเลี้ยงสมองตีบ ทำให้เกิดอัมพาต เป็นต้น
ปัจจัยที่ทำให้หลอดเลือดแดงเกิดการเสื่อม เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน บุหรี่ เป็นต้น แต่ “ อายุ ” ก็ เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญมากและเราไม่อาจเลี่ยงได้ หลอดเลือดแดงที่เสื่อมนี้จะเกิดขึ้นทั่วร่างกาย ทั้งหลอดเลือดเลี้ยงสมอง หัวใจ ไต ฯลฯ
โรคนี้เริ่มเกิดที่ผนังของหลอดเลือดแดงเอง โดยการสะสมของไขมันโคเลสเตอรอลที่ผนังด้านใน ร่างกายจะได้รับโคเลสเตอรอลมาจาก 2 แหล่ง คือจากภายนอก ได้จากอาหารที่มีไขมัน และจากภายในร่างกายเอง โดยการสร้างของตับ
โคเลสเตอรอลแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ
·โคเลสเตอรอลที่มีขนาดใหญ่ แต่มีความหนาแน่นน้อยเรียกว่า แอล-ดี-แอล (LDL) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญ ที่ทำให้ผนังหลอดเลือดเสื่อม
·โคเลสเตอรอล ชนิดที่มีขนาดเล็ก แต่มีความหนาแน่นสูง ที่เรียกว่า เอช--ดี-แอล (HDL) เจ้าตัวหลังนี้จะกลับเป็นพระเอก ช่วยขนถ่าย แอล-ดี-แอล ที่ผนังหลอดเลือดกลับไปทำลายที่ตับ
ภาวะนี้เป็นความเสื่อมของหลอดเลือดที่เกิดขึ้นทั่วร่างกาย เกิดจากการสะสมของไขมันและแคลเซียมในผนังของหลอดเลือดแดง ทำให้หลอดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่น เกิดการตีบตัน ผลที่ตามมาคือ เช่น หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ ตัน เกิดอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื้อหัวใจตาย หรือหลอดเลือดเลี้ยงสมองตีบ ทำให้เกิดอัมพาต เป็นต้น
ปัจจัยที่ทำให้หลอดเลือดแดงเกิดการเสื่อม เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน บุหรี่ เป็นต้น แต่ “ อายุ ” ก็ เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญมากและเราไม่อาจเลี่ยงได้ หลอดเลือดแดงที่เสื่อมนี้จะเกิดขึ้นทั่วร่างกาย ทั้งหลอดเลือดเลี้ยงสมอง หัวใจ ไต ฯลฯ
โรคนี้เริ่มเกิดที่ผนังของหลอดเลือดแดงเอง โดยการสะสมของไขมันโคเลสเตอรอลที่ผนังด้านใน ร่างกายจะได้รับโคเลสเตอรอลมาจาก 2 แหล่ง คือจากภายนอก ได้จากอาหารที่มีไขมัน และจากภายในร่างกายเอง โดยการสร้างของตับ
โคเลสเตอรอลแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ
·โคเลสเตอรอลที่มีขนาดใหญ่ แต่มีความหนาแน่นน้อยเรียกว่า แอล-ดี-แอล (LDL) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญ ที่ทำให้ผนังหลอดเลือดเสื่อม
·โคเลสเตอรอล ชนิดที่มีขนาดเล็ก แต่มีความหนาแน่นสูง ที่เรียกว่า เอช--ดี-แอล (HDL) เจ้าตัวหลังนี้จะกลับเป็นพระเอก ช่วยขนถ่าย แอล-ดี-แอล ที่ผนังหลอดเลือดกลับไปทำลายที่ตับ
สนับสนุนโดย..นวัตกรรมใหม่ในการดูแลสุขภาพ ENZYME THERAPY INNOVATION
เอนไซม์ที่ผลิตขึ้นในร่างกายของแต่ละคนนั้นมีจำนวนจำกัด หากคุณต้องการมีชีวิตที่ยืนยาว
และมีสุขภาพที่ดี ตัวคุณต้องรักษาระดับเอนไซน์ในร่างกายให้สมดุล
กุญแจสำคัญที่จะนำไปสู่สุขภาพที่สมดุลนั้น ก็คือ เอนไซน์
เอนไซน์เปรียบเสมือนกุญแจแห่งชีวิตที่เสริมสร้าง ซ่อมแซม ต้านทานโรค และป้องกันความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
เอนไซม์ที่ผลิตขึ้นในร่างกายของแต่ละคนนั้นมีจำนวนจำกัด หากคุณต้องการมีชีวิตที่ยืนยาว
และมีสุขภาพที่ดี ตัวคุณต้องรักษาระดับเอนไซน์ในร่างกายให้สมดุล
กุญแจสำคัญที่จะนำไปสู่สุขภาพที่สมดุลนั้น ก็คือ เอนไซน์
เอนไซน์เปรียบเสมือนกุญแจแห่งชีวิตที่เสริมสร้าง ซ่อมแซม ต้านทานโรค และป้องกันความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
สนใจสอบถาม/สั่งซื้อ :
Call center : โทร. 088-536-2211 088-536-3322 088-536-4433 02-444-6544
ID line : Enzyme.co.th
Follow LINE Official ID @jqk0152o : https://bit.ly/2KuayDT
Follow Fanpage Biowist.co.th : https://bit.ly/2w61GRN
Follow Instagram enzymebiowist : https://bit.ly/2Ig6qcm
Call center : โทร. 088-536-2211 088-536-3322 088-536-4433 02-444-6544
ID line : Enzyme.co.th
Follow LINE Official ID @jqk0152o : https://bit.ly/2KuayDT
Follow Fanpage Biowist.co.th : https://bit.ly/2w61GRN
Follow Instagram enzymebiowist : https://bit.ly/2Ig6qcm
สนใจสอบถาม/สั่งซื้อ
|